ดอกสมบูรณ์เพศ
ดอกชบา
เป็นพืชมีดอกในสกุล Hibisceae วงศ์ Malvaceae เป็นพืชพื้นเมืองในเอเชียตะวันออก ชาวโอรังอัสลีในรัฐเประก์ มาเลเซีย ใช้เปลือกรากแช่ในน้ำข้ามคืนและดื่มขณะท้องว่างเพื่อรักษาฝี
ชื่อวิทยาศาสตร์: Hibiscus syriacus
สายพันธุ์ที่เหนือกว่า: สกุลชบา
ชั้น: สปีชีส์
สรรพคุณชบา
ใบ และดอก นำมาต้มดื่มหรือใช้เติมแต่งอาหาร
– ต้านโรคมะเร็ง
– บำรุงตับ ป้องกันตับเสื่อมจากสารพิษ
– ช่วยบำรุงผิวพรรณ เพิ่มความชุ่มชื้นแก่ผิว
ใบ และดอก นำมาต้มดื่มหรือใช้เติมแต่งอาหาร
– ต้านโรคมะเร็ง
– บำรุงตับ ป้องกันตับเสื่อมจากสารพิษ
– ช่วยบำรุงผิวพรรณ เพิ่มความชุ่มชื้นแก่ผิว
ใบ และดอก นำมาใช้ภายนอกร่างกาย
ใบหรือดอก นำมาขยำให้เกิดเมือกหรือผสมน้ำเล็กน้อย ก่อนใช้ทา ใช้ประคบหรือใช้สระ มีสรรพคุณ ดังนี้
– รักษาแผลไฟไหม้ แผลน้ำร้อนลวก
– รักษาแผลสด
– รักษาแผลติดเชื้อ แผลมีน้ำหนอง
– ป้องกันการอักเสบ และการติดเชื้อของแผล
– ช่วยลดอาการบวมซ้ำ
– กระตุ้นการงอกของเส้นผม
– บำรุงผมให้ดกดำ
ใบหรือดอก นำมาขยำให้เกิดเมือกหรือผสมน้ำเล็กน้อย ก่อนใช้ทา ใช้ประคบหรือใช้สระ มีสรรพคุณ ดังนี้
– รักษาแผลไฟไหม้ แผลน้ำร้อนลวก
– รักษาแผลสด
– รักษาแผลติดเชื้อ แผลมีน้ำหนอง
– ป้องกันการอักเสบ และการติดเชื้อของแผล
– ช่วยลดอาการบวมซ้ำ
– กระตุ้นการงอกของเส้นผม
– บำรุงผมให้ดกดำ
ราก และลำต้น นำมาต้มดื่ม
– แก้อาการไอ อาการระคายคอ
– ช่วยขับเสมหะ
– รักษาหลอดลมอักเสบ
– รักษาประจำเดือนมาไม่ปกติ
– รักษาอาการตกขาว
– รักษาอาการเลือดไหลทางช่องคลอด
– รักษามดลูกอักเสบ
– รักษาอาการตกขาว
– รักษาอาการเลือดไหลทางช่องคลอด
– แก้อาการไอ อาการระคายคอ
– ช่วยขับเสมหะ
– รักษาหลอดลมอักเสบ
– รักษาประจำเดือนมาไม่ปกติ
– รักษาอาการตกขาว
– รักษาอาการเลือดไหลทางช่องคลอด
– รักษามดลูกอักเสบ
– รักษาอาการตกขาว
– รักษาอาการเลือดไหลทางช่องคลอด
การเพาะปลูกดอกชบา
การปลูกเลี้ยงและการดูแลรักษา
ชบาเป็นพืชที่ปลูกเลี้ยงง่าย ถ้ามีการดูแลรักษาอยู่เหมาะสม จะทำให้ชบาออกดอกสวยงามตลอดปี ดินปลูก ควรเป็นดินร่วนซุย มีการระบายน้ำดี อาจผสมดินร่วน ขี้เถ้าแกลบ การมะพร้าวสับ และปุ๋ยคอก อย่างละ 1 ส่วน คลุกเคล้าให้เข้ากัน การให้น้ำขึ้นอยู่กับฤดูกาลและสภาพอากาศ เช่น ในฤดูฝนควรให้น้ำเมื่อเห็นว่าฝนไม่ตก เป็นเวลานานหรือผิวดินแห้ง ส่วนใหญ่ฤดูแล้งให้น้ำเพียงวันละครั้ง และไม่ควรมีน้ำขังแฉะ ควรให้ปุ๋ยสูตร เสมอ เช่น 16-16-16 หรือ 15-15-15 ทุกๆ เดือน เดือนละครั้ง พร้อมกับพรวมดินรอบพุ่มต้น ส่วนปุ๋ยอินทรีย์ เช่น ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก นำมาปรับปรุงดินเป็นตรั้งคราว โดยธรรมชาติเป็นพืชที่ต้องการแสงแดดจัด ขึ้นได้ในดินทุก สภาพ และมักจะทนแล้งได้ดี
การขยายพันธุ์
มีหลายวิธี ขึ้นอยู่กับวัตถุปรัสงค์ และความสะดวกในการทำ ได้แก่
ปักชำ เตรียมกิ่งชำขนาดเส้นผ่าศุนย์กลางประมาณ 1 ซม. ลิดในออกบางส่วน เพื่อลดการคายน้ำ ตัดส่วน โคนในแนวเฉียงและกรีดตามยาวประมาณ 2 ซม. 2-3 รอยที่โคนกิ่ง วัสดุชำมักใช้ทรายผสมกับขี้เถ้า- แกลบปริมาณเท่าๆ กัน ปักกิ่งชำในแนวเฉียงเล็กน้อย แต่ละกิ่งห่างกันประมาณ 10 ซม. นำไปไว้ในกระ บะพ่นหมอกหรือใสุ่งพลาสติกประมาณ 2 สัปดาห์กิ่งชำจะออกราก ย้ายปลูกลงในกระถางหรือถุงต่อไป วิธีนี้จะได้ต้นจำนวนมาก
เสียบยอด นิยมใช้พู่ระหง ชบา หรือชบาด่างเป็นต้นตอ เนื่องจากมีความแแข็งแรงทนทานต่อสภาพแวด ล้อม เลือกต้นตอที่มีลำต้นตรง ลิดใบออกบางส่วน ตัดยอดออก แล้วใช้มีดผ่าลงกลางรอยตัดยาวประมาณ 3 ซม. สำหรับกิ่งพันธุ์ต้องมีตา 2-3 ตา ยาวประมาณ 10 ซม. เฉือนโคนทั้งสองด้านเป็นรูปลิ่ม รอยเฉือน ด้านหน้ายาวประมาณ 2-3 ซม. เสีบยลงบนต้นตอให้รอยแผลทาบกันสนิทดี พันพลาสติกจากล่างขึ้นบน ให้แน่น หลักจากนั้น 2-3 สัปดาห์ แกะพลาสติกตรวจดูรอยแผล วิธีนี้จะทำให้ได้ต้นพันธุ์ดีที่เจริญเร็ว
ติดตา นิยมใช้วิธีนี้เมื่อกิ่งพันธุ์มีจำนวนน้อย วิธีทำก็เช่นเดียวกับการติดตาพืชทั่วๆ ไป โดยจะใช้เวลาประ มาณ 2 สัปดาห์หลังการติดตาจึงแกะพลาสติกออก หรือเมื่อเห็นว่าตาที่ติดเริมเจริญขึ้น
การดูแลรักษา
แสง ชอบแสงแดดมาก
น้ำ ต้องการน้ำพอประมาณ
ดิน เป็นไม้ที่ปลูกได้ง่ายสามารถเจริญเติบโตได้ในดินแทบทุกชนิด แต่ไม่ควรให้ดินเปียกหรือแฉะเกินไป
ปุ๋ย ใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก
การปลูก
ชบาเป็นพืชที่ปลูกเลี้ยงง่าย ถ้ามีการดูแลรักษาอยู่เหมาะสม จะทำให้ชบาออกดอกสวยงามตลอดปี ดินปลูก ควรเป็นดินร่วนซุย มีการระบายน้ำดี อาจผสมดินร่วน ขี้เถ้าแกลบ การมะพร้าวสับ และปุ๋ยคอก อย่างละ 1 ส่วน คลุกเคล้าให้เข้ากัน การให้น้ำขึ้นอยู่กับฤดูกาลและสภาพอากาศ เช่น ในฤดูฝนควรให้น้ำเมื่อเห็นว่าฝนไม่ตก เป็นเวลานานหรือผิวดินแห้ง ส่วนใหญ่ฤดูแล้งให้น้ำเพียงวันละครั้ง และไม่ควรมีน้ำขังแฉะ ควรให้ปุ๋ยสูตร เสมอ เช่น 16-16-16 หรือ 15-15-15 ทุกๆ เดือน เดือนละครั้ง พร้อมกับพรวมดินรอบพุ่มต้น ส่วนปุ๋ยอินทรีย์ เช่น ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก นำมาปรับปรุงดินเป็นตรั้งคราว โดยธรรมชาติเป็นพืชที่ต้องการแสงแดดจัด ขึ้นได้ในดินทุก สภาพ และมักจะทนแล้งได้ดี
การขยายพันธุ์
มีหลายวิธี ขึ้นอยู่กับวัตถุปรัสงค์ และความสะดวกในการทำ ได้แก่
ปักชำ เตรียมกิ่งชำขนาดเส้นผ่าศุนย์กลางประมาณ 1 ซม. ลิดในออกบางส่วน เพื่อลดการคายน้ำ ตัดส่วน โคนในแนวเฉียงและกรีดตามยาวประมาณ 2 ซม. 2-3 รอยที่โคนกิ่ง วัสดุชำมักใช้ทรายผสมกับขี้เถ้า- แกลบปริมาณเท่าๆ กัน ปักกิ่งชำในแนวเฉียงเล็กน้อย แต่ละกิ่งห่างกันประมาณ 10 ซม. นำไปไว้ในกระ บะพ่นหมอกหรือใสุ่งพลาสติกประมาณ 2 สัปดาห์กิ่งชำจะออกราก ย้ายปลูกลงในกระถางหรือถุงต่อไป วิธีนี้จะได้ต้นจำนวนมาก
เสียบยอด นิยมใช้พู่ระหง ชบา หรือชบาด่างเป็นต้นตอ เนื่องจากมีความแแข็งแรงทนทานต่อสภาพแวด ล้อม เลือกต้นตอที่มีลำต้นตรง ลิดใบออกบางส่วน ตัดยอดออก แล้วใช้มีดผ่าลงกลางรอยตัดยาวประมาณ 3 ซม. สำหรับกิ่งพันธุ์ต้องมีตา 2-3 ตา ยาวประมาณ 10 ซม. เฉือนโคนทั้งสองด้านเป็นรูปลิ่ม รอยเฉือน ด้านหน้ายาวประมาณ 2-3 ซม. เสีบยลงบนต้นตอให้รอยแผลทาบกันสนิทดี พันพลาสติกจากล่างขึ้นบน ให้แน่น หลักจากนั้น 2-3 สัปดาห์ แกะพลาสติกตรวจดูรอยแผล วิธีนี้จะทำให้ได้ต้นพันธุ์ดีที่เจริญเร็ว
ติดตา นิยมใช้วิธีนี้เมื่อกิ่งพันธุ์มีจำนวนน้อย วิธีทำก็เช่นเดียวกับการติดตาพืชทั่วๆ ไป โดยจะใช้เวลาประ มาณ 2 สัปดาห์หลังการติดตาจึงแกะพลาสติกออก หรือเมื่อเห็นว่าตาที่ติดเริมเจริญขึ้น
การดูแลรักษา
แสง ชอบแสงแดดมาก
น้ำ ต้องการน้ำพอประมาณ
ดิน เป็นไม้ที่ปลูกได้ง่ายสามารถเจริญเติบโตได้ในดินแทบทุกชนิด แต่ไม่ควรให้ดินเปียกหรือแฉะเกินไป
ปุ๋ย ใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก
ดอกสมบูรณ์เพศ
กุหลาบ
คือดอกไม้ในสกุล Rosa ในวงศ์ Rosaceae ที่ได้รับความนิยมปลูกมากที่สุดชนิดหนึ่งของโลกที่มีต้นกำเนิดจากทวีปเอเชีย ผู้คนนิยมปลูกเพื่อความสวยงาม ตกแต่งสวน, ประดับตกแต่งบ้าน, ประดับสถานที่, ปลูกเพื่อการพาณิชย์ อาทิ เพื่อนำไปสกัดน้ำหอม
ชื่อวิทยาศาสตร์: Rosa
สายพันธุ์ที่เหนือกว่า: Rosoideae
ชั้น: สกุล
สรรพคุณ
สรรพคุณ
น้ำมันที่สกัดจากกลีบดอกของกุหลาบ มีสรรพคุณในการรักษาโรคต่าง ๆ มากมาย เช่น ทำให้ร่างกายทำงานอย่างสอดคล้อง สมดุล ปรับระบบภูมิต้านทานให้แข็งแรง ปรับระบบการทำงานของต่อมไร้ท่อ ปรับการทำงานของระบบประสาทให้สมดุล น้ำมันกุหลาบจัดเป็นน้ำมันที่ดีต่อระบบย่อยอาหาร เพราะช่วยสมานแผลกระเพาะอาหาร ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย และลดการหมักหมมของเชื้อแบคทีเรียในกระเพาะอาหารและลำไส้ ช่วยปรับสมดุลการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ แพทย์บางท่านได้มีการสั่งน้ำมันกุหลาบให้ผู้ป่วยโรคหัวใจสูดดม เพื่อลดอาการเจ็บแน่นหน้าอก
กลีบกุหลาบ อุดมไปด้วยวิตามินซี แคโรทีน วิตามินเค แคลเซียม และแร่ธาตุต่าง ๆ ที่จำเป็นต่อร่างกายและระบบเลือดเรียกได้ว่า วิตามินและเกลือแร่ต่าง ๆ ที่ร่างกายต้องการนั้น มีอยู่ครบถ้วนในกลีบกุหลาบ เช่น "โพแทสเซียม" ที่จำเป็นต่อระบบหัวใจ "แร่ธาตุทองแดง" ที่ร่างกายต้องการเพื่อกระบวนการสร้างเม็ดเลือด และใช้ในกระบวนการทำงานของระบบต่อมไร้ท่อ "ไอโอดีน" ที่ร่างกายต้องการสำหรับการสร้างฮอร์โมนของต่อมไทรอยด์ เรียกได้ว่าในกลีบกุหลาบมีคุณค่าครอบจักรวาลสำหรับการดูแลสุขภาพ
จากการศึกษาข้อมูลพบว่า เชื้อแบคทีเรียจะตายภายใน 5 นาที เมื่อสัมผัสกับกลีบกุหลาบสด ซึ่งถ้าหากมีปัญหาผิวหนังติดเชื้อ มีสิวแผลเปิด ไฟไหม้ ผิวผื่นแพ้ ล้วนสามารถรักษาได้ด้วยกลีบกุหลาบสด
กุหลาบแห้ง นำมาป่นให้เป็นผงผสมกับน้ำผึ้ง ใช้ทาภายในช่องปากเพื่อรักษาอาการอักเสบในช่องปาก ปัญหาของเหงือกและฟันได้
การสูดดมกลิ่นหอมของน้ำมันหอมระเหยจากกุหลาบ ช่วยบรรเทาอาการปวดศีรษะ วิงเวียน อ่อนเพลีย หรือแม้แต่เพียงการสูดดมกลิ่นหอมจากกุหลาบ ก็สามารถช่วยขจัดอารมณ์เศร้าหมองวิตกกังวล ปัญหาเครียด จิตใจฟุ้งซ่าน อาการปวดศีรษะ ไอ และอาการหวัดได้
กลีบกุหลาบ อุดมไปด้วยวิตามินซี แคโรทีน วิตามินเค แคลเซียม และแร่ธาตุต่าง ๆ ที่จำเป็นต่อร่างกายและระบบเลือดเรียกได้ว่า วิตามินและเกลือแร่ต่าง ๆ ที่ร่างกายต้องการนั้น มีอยู่ครบถ้วนในกลีบกุหลาบ เช่น "โพแทสเซียม" ที่จำเป็นต่อระบบหัวใจ "แร่ธาตุทองแดง" ที่ร่างกายต้องการเพื่อกระบวนการสร้างเม็ดเลือด และใช้ในกระบวนการทำงานของระบบต่อมไร้ท่อ "ไอโอดีน" ที่ร่างกายต้องการสำหรับการสร้างฮอร์โมนของต่อมไทรอยด์ เรียกได้ว่าในกลีบกุหลาบมีคุณค่าครอบจักรวาลสำหรับการดูแลสุขภาพ
จากการศึกษาข้อมูลพบว่า เชื้อแบคทีเรียจะตายภายใน 5 นาที เมื่อสัมผัสกับกลีบกุหลาบสด ซึ่งถ้าหากมีปัญหาผิวหนังติดเชื้อ มีสิวแผลเปิด ไฟไหม้ ผิวผื่นแพ้ ล้วนสามารถรักษาได้ด้วยกลีบกุหลาบสด
กุหลาบแห้ง นำมาป่นให้เป็นผงผสมกับน้ำผึ้ง ใช้ทาภายในช่องปากเพื่อรักษาอาการอักเสบในช่องปาก ปัญหาของเหงือกและฟันได้
การสูดดมกลิ่นหอมของน้ำมันหอมระเหยจากกุหลาบ ช่วยบรรเทาอาการปวดศีรษะ วิงเวียน อ่อนเพลีย หรือแม้แต่เพียงการสูดดมกลิ่นหอมจากกุหลาบ ก็สามารถช่วยขจัดอารมณ์เศร้าหมองวิตกกังวล ปัญหาเครียด จิตใจฟุ้งซ่าน อาการปวดศีรษะ ไอ และอาการหวัดได้
การอาบน้ำกลีบกุหลาบ ก็มีประโยชน์ต่อสุขภาพ สามารถช่วยคลายเครียด ลดความวิตกกังวล และช่วยบำรุงผิว ทำได้โดยการนำกลีบกุหลาบสดครึ่งถ้วย ใส่ชามขนาดใหญ่ เติมน้ำร้อนและปิดฝาทิ้งไว้เพื่อรักษากลิ่นของกุหลาบ เมื่อจะอาบน้ำให้เทน้ำกุหลาบที่เตรียมไว้ผสมกับน้ำอุ่นในอ่างน้ำอาบ และเติมน้ำคั้นหัวบีตรูตเพื่อเพิ่มสรรพคุณทางการรักษาของกุหลาบให้ดีขึ้นไปอีก
สเปรย์น้ำกุหลาบ ที่มีสรรพคุณทางการดูแลสุขภาพ โดยมีวิธีการทำคือ ใช้กลีบกุหลาบ 10 กรัม เทใส่อ่างเติมน้ำร้อน กรองเอาน้ำมาใช้ เทใส่ขวดสเปรย์ ฉีดพ่นบริเวณที่ต้องการ เพื่อช่วยบรรเทาอาการปวด ทำให้ร่างกายแข็งแรง หากใช้น้ำกุหลาบขณะอุ่นจะช่วยบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อปวดข้อจากรูมาตอยด์
สเปรย์น้ำกุหลาบ ที่มีสรรพคุณทางการดูแลสุขภาพ โดยมีวิธีการทำคือ ใช้กลีบกุหลาบ 10 กรัม เทใส่อ่างเติมน้ำร้อน กรองเอาน้ำมาใช้ เทใส่ขวดสเปรย์ ฉีดพ่นบริเวณที่ต้องการ เพื่อช่วยบรรเทาอาการปวด ทำให้ร่างกายแข็งแรง หากใช้น้ำกุหลาบขณะอุ่นจะช่วยบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อปวดข้อจากรูมาตอยด์
มาส์กกุหลาบ สำหรับผู้ที่มีผิวมันหรือผิวที่มีปัญหาสิว ทำให้ผิวสดใส มีชีวิตชีวา มีวิธีการทำคือ นำกลีบกุหลาบมาตากให้แห้ง บดเป็นผง เติมน้ำเล็กน้อย คนให้เข้ากัน นำมาทาให้ทั่วใบหน้า ทิ้งไว้ 10-15 นาที แล้วล้างออก
ชากลีบกุหลาบ เหมาะสำหรับรักษาอาการหวัด เจ็บคอ หลอดลมอักเสบ บำรุงร่างกายให้แข็งแรง เป็นเครื่องดื่มสุขภาพที่ดี เพราะอุดมไปด้วยวิตามินและเกลือแร่มากมาย
น้ำกุหลาบ ให้นำดอกกุหลาบสด ใช้เฉพาะกลีบ ประมาณ 1 ถ้วย ใส่ในภาชนะ เติมน้ำเดือด 2 ถ้วย ปิดฝาทิ้งไว้ให้เย็น คั้นเอาแต่น้ำมาใช้ทาหน้าหรือใช้เป็นโทนเนอร์ปรับสภาพผิวหลังล้างหน้า ส่วนที่เหลือสามารถเก็บไว้ใช้ได้เมื่อต้องการ
ชากลีบกุหลาบ เหมาะสำหรับรักษาอาการหวัด เจ็บคอ หลอดลมอักเสบ บำรุงร่างกายให้แข็งแรง เป็นเครื่องดื่มสุขภาพที่ดี เพราะอุดมไปด้วยวิตามินและเกลือแร่มากมาย
น้ำกุหลาบ ให้นำดอกกุหลาบสด ใช้เฉพาะกลีบ ประมาณ 1 ถ้วย ใส่ในภาชนะ เติมน้ำเดือด 2 ถ้วย ปิดฝาทิ้งไว้ให้เย็น คั้นเอาแต่น้ำมาใช้ทาหน้าหรือใช้เป็นโทนเนอร์ปรับสภาพผิวหลังล้างหน้า ส่วนที่เหลือสามารถเก็บไว้ใช้ได้เมื่อต้องการ
น้ำมันหอมระเหยกุหลาบ ช่วยคลายเครียด ลดการอักเสบ ฆ่าเชื้อโรค เชื้อแบคทีเรีย ไวรัส คลายกล้ามเนื้อเรียบ เพิ่มความรู้สึกทางเพศ ฝาดสมานรักษาแผล ทำให้แผลหายเร็ว บำรุงตับ ช่วยระบาย ขับระดู ทำให้นอนหลับ ระงับประสาท บำรุงร่างกาย โดยสามารถแบ่งเป็นสรรพคุณต่อระบบต่าง ๆ ดังนี้
ระบบประสาทและอารมณ์ คือ ช่วยให้สงบ ระงับประสาท ทำให้นอนหลับ ลดอาการใจสั่น กระวนกระวายใจ ลดความเครียด วิตกกังวล ลดความโศกเศร้า ลดความกลัว สร้างความรู้สึกเป็นมิตร ทำให้รู้สึกเป็นสุข เนื่องจากในทางสุคนธบำบัดเชื่อว่า น้ำมันกุหลาบเป็นน้ำมันที่มีประสิทธิภาพดีที่สุดในการบำบัดทั้งร่างกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ
ระบบสืบพันธุ์ ช่วยรักษาอาการติดเชื้อของระบบสืบพันธุ์ บำรุงมดลูก ลดอาการปวดประจำเดือน แก้ปวดท้อง ปรับสมดุลฮอร์โมน ใช้ได้ดีกับผู้ที่มีประจำเดือนมามากกว่าปกติ
ระบบประสาทและอารมณ์ คือ ช่วยให้สงบ ระงับประสาท ทำให้นอนหลับ ลดอาการใจสั่น กระวนกระวายใจ ลดความเครียด วิตกกังวล ลดความโศกเศร้า ลดความกลัว สร้างความรู้สึกเป็นมิตร ทำให้รู้สึกเป็นสุข เนื่องจากในทางสุคนธบำบัดเชื่อว่า น้ำมันกุหลาบเป็นน้ำมันที่มีประสิทธิภาพดีที่สุดในการบำบัดทั้งร่างกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ
ระบบสืบพันธุ์ ช่วยรักษาอาการติดเชื้อของระบบสืบพันธุ์ บำรุงมดลูก ลดอาการปวดประจำเดือน แก้ปวดท้อง ปรับสมดุลฮอร์โมน ใช้ได้ดีกับผู้ที่มีประจำเดือนมามากกว่าปกติ
การบำรุงผิวพรรณ มีสรรพคุณให้ความชุ่มชื้น ทำให้ผิวนุ่ม ช่วยฝาดสมาน ฆ่าเชื้อโรคสามารถใช้ได้กับทุกสภาพผิว โดยเฉพาะผิวแห้ง ผิวผู้สูงอายุ ลดการอักเสบ เสริมสร้างความแข็งแรงให้กับหลอดเลือดฝอย ใช้กับผู้ที่มีปัญหาหลอดเลือดฝอยเปราะ แตกง่าย
การปลูก
สภาพที่เหมาะสมในการปลูก
พื้นที่ปลูก ควรปลูกในที่ที่ระบายน้ำได้ดี มีความเป็นกรดเล็กน้อย พีเอ็ช ประมาณ 6-6.5 และได้แสงอย่างน้อย 6 ชั่วโมง อุณหภูมิ อุณหภูมิที่เหมาะสมในการเจริญของกุหลาบคือ กลางคืน 15-18 องศาเซลเซียส และกลางวัน 20-25 องศาเซลเซียส ซึ่งเป็นช่วงอุณหภูมิที่จะทำให้ได้ดอกที่มีคุณภาพดี และให้ผลผลิตสูง หากอุณหภูมิต่ำกว่า 15 องศาเซลเซียส การเจริญเติบโตและการออกดอกจะช้าอย่างมาก หากอุณหภูมิสูงกว่า 28 องศาเซลเซียส ควรให้มีความชื้นในอากาศสูงเพื่อชลอการคายน้ำ ความชื้น ความชื้นสัมพัทธ์ที่เหมาะสมกับการเจริญของกุหลาบคือร้อยละ 70-80 แสง กุหลาบจะให้ผลผลิตสูง และดอกมีคุณภาพดี ถ้าความเข้มของแสงมาก และช่วงวันยาว
การขยายพันธุ์
กุหลาบ สามารถขยายพันธุ์ได้หลายวิธี เช่น การตัดชำ การตอน การติดตา และการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เพื่อให้ได้ต้นกุหลาบที่มีระบบรากที่แข็งแรง และให้ผลผลิตสูงเกษตรกรมักนิยมกุหลาบพันธุ์ดีที่ติดตาบนตอกุหลาบป่า การปลูกและการจัดการ
ดอกสมบูรณ์เพศ
พุทธรักษา
เป็นวงศ์ของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว มีสมาชิกสกุลเดียวคือสกุลพุทธรักษา พบกระจายในหลายบริเวณ ตั้งแต่เทือกเขาแอนดีส ฮาวาย ออสเตรเลีย เวียดนาม จีน จนถึงอินโดนีเซีย
ชื่อวิทยาศาสตร์: Cannaceae
สายพันธุ์ที่เหนือกว่า: อันดับขิง
ชั้น: วงศ์
สรรพคุณในตำรายา
เหง้าใต้ดินและลำต้น รสฝาดขื่น แก้โรคตับอักเสบ แก้ตัวเหลือง บิดเรื้อรัง กระอักเลือด ตกขาว ประจำเดือนมาไม่หยุด ประจำเดือนไม่ปกติและแผลบวมอักเสบ แก้ไอ แก้วัณโรค บำรุงปอด ยาฝาดสมาน แก้อาเจียนเป็นเลือด
ดอก รสฝาดเย็น ห้ามเลือดในบาดแผล และแผลที่มีหนอง
เมล็ด รสเมาเย็น แก้อาการปวด
วิธีและปริมาณที่ใช้
รักษาโรคตับอักเสบ อย่างเฉียบพลัน มีอาการตัวเหลือง โดยใช้เหง้าสด 20-30 กรัม ล้างให้สะอาด หั่นเป็นแว่นต้มในน้ำเดือด 1 ลิตร เคี่ยวให้เหลือครึ่งหนึ่ง กรองเอาน้ำดื่มวันละ 2 เวลา เช้า-เย็น นานประมาณ 30 วัน และในระหว่างรักษาห้ามรับประทาน กุ้ง ของเผ็ด และน้ำมันพืช
ห้ามเลือดในบาดแผล และรักษาแผลที่มีหนอง โดยใช้ดอกสด 10-15 กรัม โขลกให้ละเอียด พอกบริเวณที่เป็น
การปลูกและขยายพันธุ์
สามารถปลูกได้ทุกฤดูกาล เจริญเติบโตได้ดีในดินร่วนซุย ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด หรือปักชำเหง้า
ดอกสมบูรณ์เพศ
บัวสาย หรือ Nymphaeaceae
เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่เป็นไม้น้ำ มีไรโซม มีสมาชิกประมาณ 70 สปีชีส์ สกุล Nymphaea ประกอบด้วย 35สปีชีส์ในซีกโลกเหนือ สกุลVictoria มีสองสปีชีส์ที่เป็นพืชท้องถิ่นในอเมริกาใต้ ขึ้นในดินโคลนที่มีน้ำท่วมขัง ใบลอยบนผิวน้ำ ใบกลม
ชื่อวิทยาศาสตร์: Nymphaeaceae
สายพันธุ์ที่เหนือกว่า: อันดับบัวสาย
ชั้น: วงศ์
สรรพคุณทางยา คุณค่าของ “ดอกบัว”
ในด้านคุณประโยชน์ของดอกบัวที่มีต่อร่างกายนั้น ดอกบัวถือเป็นดอกไม้ที่เราสามารถนำไปใช้เพื่อรักษาและป้องกันโรคภัยต่างๆ ได้ทุกส่วนกันเลยทีเดียว ตั้งแต่ดอกบัว เม็ดบัว รากบัว ไหลบัว สายบัว ใบบัว เกสรบัว และดีบัว เพราะแต่ละส่วนของดอกบัวล้วนอุดมไปด้วยสารอาหารสำคัญอย่างเส้นใยอาหาร น้ำตาล วิตามินบีหลายชนิด เกลือแร่ต่างๆ โคลีน แคลเซียม เหล็ก โซเดียม สังกะสี เป็นต้น
ทำให้ดอกบัวมีสรรพคุณเป็นทั้งอาหารและยาที่ให้ประโยชน์มากมายแก่สุขภาพ โดยจะทำให้การทำงานของร่างกายโดยรวมสมบูรณ์และแข็งแรงจากภายในออกมาสู่ภายนอก ช่วยบำรุงอวัยวะต่างๆ ไม่ให้เสื่อมก่อนเวลาอันควร ลดความเสี่ยงที่จะเกิดอาการเจ็บป่วยให้น้อยลงหรือไม่มีเลยก็ได้
11 สรรพคุณของดอกบัว ประโยชน์ในการรักษาโรค
1. ดอกบัวเหมาะกับคนที่มีอาการอ่อนเพลีย เพิ่งหายจากอาการป่วยไม่สบาย หรือในหญิงตั้งครรภ์แล้วมีอาการแพ้ท้อง อาเจียนจนไม่มีแรง ให้กินเม็ดบัวอาจเป็นแบบสดหรือแบบแห้งก็ได้ เพราะเป็นแหล่งรวมของสารอาหารหลายชนิดสูง เพิ่มพลังงานให้ร่างกาย ทำให้กลับมามีแรงยิ่งขึ้น
2. ดอกบัวมีสรรพคุณช่วยบรรเทาอาการหวัด แก้อาการคัดจมูก น้ำมูกไหล และยังเป็นยาแก้ไอ แก้ไข้ ด้วยการหั่นใบบัวให้ละเอียด ตากแดดจนแห้ง จึงนำมาใช้มวนเพื่อสูดดมกลิ่น
3. ดอกบัวเกือบทุกส่วนมีคุณสมบัติที่ช่วยรักษาอาการท้องเสีย ท้องเดิน ท้องร่วง หรือมีอาการบิดเรื้อรัง ช่วยบรรเทาอาการอักเสบของลำไส้
4. ประโยชน์ของดอกบัวเป็นยาบำรุงร่างกายที่ดี ไม่ว่าจะเป็นกลีบดอก เม็ดบัว เกสรบัว ใบแก่หรือรากบัว ต่างก็มีสรรพคุณที่ช่วยบำรุงกำลัง ทำให้ร่างกายสดชื่น บำรุงเลือด บำรุงหัวใจ บำรุงตับ บำรุงไต บำรุงครรภ์ เป็นต้น
5. สรรพคุณของดอกบัวมีฤทธิ์ช่วยให้ร่างกายผ่อนคลายจากความเครียด มีอารมณ์หงุดหงิดหรือมีความวิตกกังวล ดูแลระบบประสาทและบำรุงสมอง ทำให้นอนหลับได้ง่ายขึ้น ร่างกายได้พักผ่อนอย่างเต็มที่
6. ดอกบัวใช้เป็นยาช่วยรักษาแผลพุพอง ฝาดสมานแผล และยังมีสรรพคุณช่วยห้ามเลือด ทำให้เลือดหยุดไหลออกมาได้เร็วขึ้น
7. ดอกบัวมีสรรพคุณช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะเม็ดบัวที่เป็นแหล่งรวมของสารต้านอนุมูลอิสระหลายชนิด จึงช่วยยับยั้งการเกิดโรคมะเร็งได้ ช่วยป้องกันไม่ให้เซลล์ของอวัยวะภายในร่างกายเสื่อมเร็ว รวมถึงในส่วนของผิวพรรณก็ไม่เหี่ยวย่น ริ้วรอยลดลง และชะลอความแก่
8. ดอกบัวถือเป็นยาโบราณที่มีฤทธิ์ช่วยลดความดันโลหิตสูง ขยายหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ และลดไขมันในเส้นเลือด จึงเป็นอาหารและยาที่ดีสำหรับคนที่มีอาการเกี่ยวกับโรคเหล่านี้
9. ดอกบัวมีสรรพคุณแก้อาการปวดหัว ปวดท้ายทอย วิงเวียน มึนงง มีอาการหน้ามืดคล้ายจะเป็นลม โดยการใช้เกสรบัวมาเป็นส่วนผสมในยาหอม เมื่อชงน้ำดื่มแล้วจะช่วยให้อาการดีขึ้น ทำให้ชุ่มชื่นใจ ช่วยชูกำลัง และยังช่วยขับเสมหะ
10. ดอกบัวในส่วนของดีบัวนั้นมีคุณสมบัติที่สามารถเพิ่มแรงบีบตัวของหัวใจ และลดไขมันที่ไปเกาะบริเวณผนังหลอดเลือดได้เป็นอย่างดี เสริมสร้างให้หัวใจแข็งแรงทำงานได้ดีขึ้น
11. ดอกบัวยังมีประโยชน์ทำเป็นอาหารได้ทั้งคาว อาทิ แกงส้มสายบัว ใส่ในแกงเลียงหรือผัดเผ็ด และเป็นผักจิ้มน้ำพริก ส่วนของหวาน เช่น เม็ดบัวเชื่อม ขนมหม้อแกงใส่เม็ดบัว น้ำรากบัว ฯลฯ นอกจากนี้ใบบัวยังใช้ห่ออาหารอย่างข้าวห่อใบบัว และแม้กระทั่งใช้ห่อสิ่งของก็ยังได้
วิธีปลูกบัว
-ใส่ดินเหนียวที่ก้นกระถาง หนาสัก 3-5 นิ้วขึ้นไป
-นำต้นบัว วางบนดินในกระถาง กดให้แน่นพอสมควร แต่อย่าแรงมาก เดี๋ยวรากมีปัญหา
-ใส่ปุ๋ยชนิดเม็ด ฝังในดินเหนียวสัก 2- 4 เม็ด
-ใส่น้ำ ให้เต็ม
วิธีการดูแลบัว เพื่อให้ดอกงาม
-บัวต้องการแสงแดด ปลูกในที่ร่ม ระวังไม่เห็นดอก
-ทุกอาทิตย์ ให้ช้อนสาหร่ายที่อยู่ใต้น้ำออก เพราะเป็นตัวที่ทำให้บัวไม่เจริญเติบโต
-ใส่ปุ๋ยสัก 1-2 อาทิตย์ครั้ง
-เปลี่ยนน้ำทุกๆ อาิิทิตย์ ถ้าสะดวก หรืออย่างน้อยสักเดือนละ 1-2 ครั้ง
-เติมดินบ้าง เพื่อให้อุดมสมบูรณ์มากขึ้น
-รับประกัน เพียงเท่านี้ บัวของคุณจะออกดอกให้คุณได้ชื่นใจ ได้ทุกๆ วัน
ดอกสมบูรณ์เพศ
บานบุรี
หรือ บานบุรีเหลือง เป็นพืชพื้นเมืองของบราซิล บานบุรี เป็นสัญลักษณ์ ดอกไม้ประจำโรงเรียนสินปุนคุณวิชญ์ ตำบลสินปุน อำเภอเขาพนม จังหวัดกระบี่
ชื่อวิทยาศาสตร์: Allamanda cathartica
สายพันธุ์ที่เหนือกว่า: สกุลบานบุรี
ชั้น: สปีชีส์
สรรพคุณของบานบุรีเหลือง
-ใบมีสรรพคุณทำให้อาเจียน (ใบ)
-ช่วยแก้อาการจุกเสียด (ใบ)
-ใบมีรสเมาร้อน ใช้เป็นยาถ่าย ยาระบาย ทำให้กล้ามเนื้อของลำไส้หดเกร็ง (ใบ)
-เปลือกและยาง มีรสเมาร้อน ใช้ปริมาณน้อยมีฤทธิ์เป็นยาถ่าย ช่วยขับน้ำดี ถ้าใช้ในปริมาณมากจะเป็นพิษต่อหัวใจ และทำให้เกิดอาการท้องเสียได้ (เปลือกและยาง)
การปลุก
บานบุรีม่วงเป็นไม้ที่มีการเจริญเติบโตค่อนข้างช้าและมักจะแตกกิ่งหรือแขนงใหม่ได้ดีในช่วง
ฤดูฝนเท่านั้น ปลูกโดยนำกิ่งที่ได้จากการปักชำ การตอน หรือการเพาะเมล็ดมาปลูกลงดิน โดย
ชุดหลุมกล้างลึกประมาณ 1 x 1 ฟุต หรือกว่านั้นเล้กน้อย แล้วรองก้นหลุมด้วยปุ๋ยหมัก 1/4 ของ
หลุมกลบดินเล็กน้อย แล้ววางกิ่งปักชำพร้อมกับดินที่ติดมากับกิ่งปักชำลงกลางหลุม กลบดินพอ
แน่น รดน้ำใช้ชุ่ม
ฤดูฝนเท่านั้น ปลูกโดยนำกิ่งที่ได้จากการปักชำ การตอน หรือการเพาะเมล็ดมาปลูกลงดิน โดย
ชุดหลุมกล้างลึกประมาณ 1 x 1 ฟุต หรือกว่านั้นเล้กน้อย แล้วรองก้นหลุมด้วยปุ๋ยหมัก 1/4 ของ
หลุมกลบดินเล็กน้อย แล้ววางกิ่งปักชำพร้อมกับดินที่ติดมากับกิ่งปักชำลงกลางหลุม กลบดินพอ
แน่น รดน้ำใช้ชุ่ม
การดูแลรักษา
แสง บานบุรีม่วงเป็นไม้กลางแจ้ง ที่ชอบแสงแดดมากพอสมควร
น้ำ ควรรดน้ำวันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น อย่าปล่อยให้ดินที่บริเวณโคนต้นแห้ง หากดินโคน
ต้นแห้งสนิทเมื่อใด ต้นก็จะตายทันที
น้ำ ควรรดน้ำวันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น อย่าปล่อยให้ดินที่บริเวณโคนต้นแห้ง หากดินโคน
ต้นแห้งสนิทเมื่อใด ต้นก็จะตายทันที
ดิน บานบุรีม่วง ชอบขึ้นในดินที่มีความชุ่มชื้น ควรหาไม้คลุมดินที่มีระบบรากตื้น ๆ มาปลูก
ไว้ตามโคนต้น เพื่อรักษาความชื้นในดินบริเวณโคนต้น ให้กับบานบุรีในช่วงฤดูแล้งได้
ไว้ตามโคนต้น เพื่อรักษาความชื้นในดินบริเวณโคนต้น ให้กับบานบุรีในช่วงฤดูแล้งได้
ปุ๋ย ใช้ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก รองก้นหลุมตอนปลูก เมื่อต้นโนแล้วให้พรวนดินบริเวณโคนต้น
แล้วใส่ปุ๋ยหมักปีละ 2 ครั้ง
แล้วใส่ปุ๋ยหมักปีละ 2 ครั้ง
ConversionConversion EmoticonEmoticon